แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน

ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น
  วิสัยทัศน์ในการพัฒนา
                   คาดหวังที่จะให้เกิดขึ้นหรือบรรลุผลในอนาคตข้างหน้า ตำบลด่านช้าง  เป็นตำบลขนาดเล็กที่มีประชาชนส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่อย่างเบาบางและสงบสุข และคาดการณ์ว่า ในอนาคตต้องเป็นชุมชนที่สงบสุขน่าอยู่อาศัย ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่

“ทำไกลให้ใกล้  ไร้ฝุ่นในหมู่บ้าน  ต้านความแห้งแล้ง  เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิต”
  ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง   4  ปี

ยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาโครงการ
  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ
ชุมชนท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.1  การจัดทำแผนแม่บทชุมชน และส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรชุมชนทุกระดับ
1.2  พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่กลุ่มอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
1.3  พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนทั่วไป
1.4 พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ และการตลาดแก่สินค้าที่ผลิตในชุมชน
1.5 ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตกรรมไทย
1.6 ส่งเสริมสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน
1.7 สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ หรือการรวมกลุ่มในรูปแบบอื่นๆ
1.8  การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
1.9  การส่งเสริมสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
1.10 ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว
1.11 การพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจและบริการการท่องเที่ยว
1)  จัดฝึกอบรมและเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผน
2)  ฝึกอบรมอาชีพให้กับเยาวชนและราษฎรระยะสั้น
3) ส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้กับราษฎร
4)  ฝึกอบรมการผลิตสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณภาพ มีความประณีตสวยงาม
5)  โครงการส่งเสริมถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
6)  โครงการเกษตรอินทรีย์ (ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพสารชีวภาพ,ฝึกอบรม และรณรงค์การปลอดสารพิษ)
7) ฝึกอบรมกลุ่มอาชีพปั้นโอ่ง
8)  จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนและตลาดนัดชุมชน
9) จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มปั้นเตาซุปเปอร์อั้งโล่
10) จัดตั้งกองทุนจัดหาเมล็ดพันธ์พืช
11) โครงการชาญฉลาดทำกิน
12) การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น
2.1) ส่งเสริมการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.2) ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและมลพิษต่างๆ
2.3) พัฒนาและดูแลรักษาที่สาธารณะ เพื่อเป็นศูนย์สุขภาพชุมชน
2.4) การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.5) การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่ออุปโภค
บริโภค
2.6) พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชน ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
2.7) ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในเขต อปท.
1) รณรงค์ ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
2) โครงการส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมชุมชนและมลพิษต่างๆ
3)  โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ ที่ทำการ อบต. ด่านช้าง  แห่งใหม่,โรงเรียน,รพ.สต.
4)  พัฒนาระบบการกักเก็บน้ำ แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
5)  พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
6)  ปรับปรุงหรือจัดให้มีถังเก็บน้ำกลาง
7)  ปรับปรุงพัฒนาอ่างเก็บน้ำให้มีความสวยงามเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
3. ยุทธศาสตร์ด้านการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น
3.1)  การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
3.2)  พัฒนาศูนย์เพื่อเอาชนะยาเสพติด
3.3)  สงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี คนชรา คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
3.4)  เสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
3.5)  แนวทางส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
3.6) สร้างเสริมสุขสาพอนามัย เด็ก เยาวชน ประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
3.7) จัดระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
3.8) ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย
3.9) ส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
3.10) ส่งเสริมการดูแลรักษาที่เกิดจากโรคไม่ติดต่อ
3.11) สนับสนุนศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนท้องถิ่น
3.12) ส่งเสริมการสนับสนุนการนำหลักการมีส่วนร่วมมาใช้ในการบริหารจัดการ
3.13) การพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.14) การพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.15) การประยุกต์ใช้อนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาข้อพิพาททางการปกครอง
3.16)  การบริการประชาชน
3.17)  การส่งเสริม และสนับสนุนการกีฬา และนันทนาการ
1)  ขุดลอกลำห้วย, คลอง,บ่อน้ำ
2)  ก่อสร้างฝายกั้นน้ำ,ฝายแม้วที่กักเก็บน้ำ
3) ก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้าน
4) ติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะและไฟฟ้าเพื่อการเกษตร
5) อบรมและบำบัดรักษา การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
6) สนับสนุนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ
7) สนับสนุนการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาสของ ศพด. อบต. ด่านช้าง
8) สนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชน (ออมทรัพย์วันละบาท)
9) การยุติความรนแรงในครอบครัว
10) การเฝ้าระวังการค้ามนุษย์
11) การเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ในชุมชน
12) การพาลูกจูงหลานเข้าวัด
13)  การสนับสนุนการศึกษาในเขตตำบลด่านช้าง
14) สนับสนุนกองทุนสุขภาพ
15) ประกวดหมู่บ้านสะอาด
16) ตรวจสุขภาพประจำปีข้าราชการ
17) ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาโรคเบื้องต้น อบรมแพทย์แผนไทยให้กับเด็กนักเรียน
18) ส่งเสริมให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเช่นโรคเอดส์,โรคไข้เลือดออก,โรคเลปโตสไปโลซีส,โรคท้องล่วง,โรคไข้หวัดนกฯลฯ
19) ส่งเสริมการป้องกันโรคพิษนุนัขบ้าและทำหมันให้กับสัตว์เช่น สุนัข, แมว
20) การต้านภัยหนาว
21) สนับสนุนศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
22) สนับสนุน อปพร.
23) จัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน
24) ส่งเสริมประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจการใน อบต.
25) ปรับปรุงพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพใน อบต. ด่านช้าง
26) พัฒนาบุคลากร (ศึกษาดูงาน,จัดฝึกอบรม ประชุม การเข้าค่าย
27) แต่งตั้งผู้พิจารณาทางการปกครองโดยความชอบธรรม
28) ปรับปรุงระบบการให้บริการประชาชน,การลดขั้นตอนการให้บริการ
29) ส่งเสริมการกีฬาและอุปกรณ์การกีฬา
4. ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิภูมิปัญท้องถิ่น
4.1) ส่งเสริมพุทธศาสนา และศาสนาอื่นๆ
4.2)  ส่งเสริมและสนับสนุนศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน
3)  ส่งเสริมการจัดเทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของท้องท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว
1) ส่งเสริมการให้ปนระชาชนเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญต่างๆทางศาสนา
2)  ส่งเสริมประเพณีลดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์
3) อุดหนุนการดำเนินงานกาชาดจังหวัดหนองบัวลำภู
4) ส่งเสริมการจัดงานเทศกาลงานประเพณีต่างๆของท้องถิ่นภาคอีสาน เช่นบุญบั้งไฟ

  กรอบยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบล 

ยุทธศาสตร์การพัฒนาแนวทางการพัฒนา
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริม
เศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 การจัดทำแผนแม่บทชุมชน และส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรชุมชนทุกระดับ
1.2 พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่กลุ่มอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน
1.3 พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนทั่วไป
1.4 พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์ และการตลาดแก่สินค้าที่ผลิตในชุมชน
1.5 ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย
1.6 ส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน
1.7 สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ หรือการรวมกลุ่มในรูปแบบอื่น ๆ
1.8  การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
1.9  ส่งเสริมสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
1.10  ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว
1.11  การพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจและบริการการท่องเที่ยว
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ด้านการบริหารจัดการ
และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.1  ส่งเสริมอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.2  ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนและมลพิษต่างๆ
2.3  พัฒนาและดูแลรักษาที่สาธารณะ เพื่อเป็นศูนย์สุขภาพชุมชน
2.4  การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.5  การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
2.6  การพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
2.7  ปรับปรุงพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในเขต อปท.
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น
3.1  การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
3.2  พัฒนาศูนย์ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด
3.3  สงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี คนชรา คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
3.4  เสริมสร้างความเข้มแข็งสถาบันครอบครัว
3.5  แนวทางส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
3.6  สร้างเสริมสุขภาพอนามัย เด็ก เยาวชน ประชาชนและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
3.7 จัดระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
3.8  ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย
3.9  ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
3.10  ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพที่เกิดจากโรคไม่ติดต่อ
3.11  สนับสนุนศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนท้องถิ่น
3.12  ส่งเสริมสนับสนุนการนำหลักการมีส่วนร่วมมาใช้ในการบริหารจัดการ
3.13  การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.14  การพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.15  การประยุกต์ใช้อนุญาโตตุลาการเพือพิจารณาข้อพิพาททางการปกครอง
3.16  การบริการประชาชน
3.17  การส่งเสริม และสนับสนุนการกีฬาและนันทนาการ
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน
ศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.1 ส่งเสริมพุทธศาสนา และศาสนาอื่นๆ
4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน
4.3  ส่งเสริมการจัดเทศกาล และงานประเพณีที่สำคัญของท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว


  ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 

“หนองบัวลำภูเป็นเมืองน่าอยู่                เคียงคู่รู้ค่าธรรมชาติ
 ประชาชนชาญฉลาดทำกิน                 ในดินแดนสันติสุข”

  ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดหนองบัวลำภู

                      จากการวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา ( Swot Analysis )  ของประชาชนทุกภาคส่วนในจังหวัดหนองบัวลำภู พบว่าจุดแข็งและโอกาสที่สำคัญคือ เป็นพื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และการประมงบริเวณเขื่อนอุบลรัตน์  สามารถเป็นฐานการผลิตด้านเกษตรกรรมมีกลุ่มองค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง ประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นหลากหลายและมีความปลอดภัยในชีวิตอยู่ในเกณฑ์ที่สูงแต่มีจุดอ่อนและอุปสรรคที่สำคัญคือ ความผันผวนของธรรมชาติที่สร้างปัญหาน้ำท่วม ภัยแล้ง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่การผลิตด้านการเกษตร การค้าและวิถีชีวิตชุมชนอย่างมากอีกทั้งด้านเศรษฐกิจยังมีขนาดของการค้าการลงทุนค่อนข้างเล็ก จึงนำมาสู่การกำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดหนองบัวลำภู

 ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์  จังหวัดหนองบัวลำภู ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนา 3 ยุทธศาสตร์ 52 กลยุทธ์
เพื่อให้ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดหนองบัวลำภู ประจำปีงบประมาณ 2556 มีความชัดเจนยิ่งขึ้น  จึงได้กำหนดกลยุทธ์ และเป้าประสงค์ในแต่ละยุทธศาสตร์ คือ

1.  ยุทธศาสตร์เคียงคู่รู้ค่าธรรมชาติ  มีเป้าประสงค์ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม-น้ำแล้ง และสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งฟื้นฟูระบบนิเวศ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์1.1  สร้างระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำให้เป็นปัจจุบันและทันสมัย
1.2  จัดระบบบำบัดน้ำเสียในครัวเรือนและชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3  ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ตามลำพะเนียงและห้วยโมง และวางระบบชลประทานตลอดจนบ่อน้ำในไร่นาให้เกษตรกรอย่างทั่วถึง
1.4   ส่งเสริมให้ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมดูแลรักษาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1.5   จัดทำแผนฟื้นฟูและบริหารทรัพยากรธรรมชาติในลุ่มน้ำ เพื่อกักเก็บ และลดความสูญเสียจากภัยธรรมชาติ
1.6   สร้างภาคีเครือข่ายชุมชนในการรณรงค์สร้างจิตสำนึกและดูแลรักษาทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
1.7   พัฒนาองค์ความรู้และเผยแพร่เทคโนโลยีฟื้นฟูบำรุงดินรวมทั้งพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรอาสาสมัคร
1.8   ยุติการเผาในฟื้นที่โล่งและทำลายหน้าดิน
1.9   ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรดิน โดยใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และการปลูกหญ้าแฝกตามแนวพระราชดำริ และการรักษาสภาพหน้าดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตร
1.10  ส่งเสริมการผลิตและใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์
1.11   เสริมสร้างภาคีเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และระบบเกษตรกรรมอย่างยั่งยืนลดการใช้สารเคมี
1.12   พัฒนาบุคลากรและยกระดับมาตรฐานบริการรวมทั้งระบบความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยว
1.13   พัฒนาฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่
1.14   ดำเนินกิจกรรมเชิงรุกทางการตลาด
1.15   สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคเอกชน ชุมชน ท้องถิ่นและส่วนราชการ ในการรักษาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
1.16   รับปรุงมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีการบริหารจัดการ โดยชุมชน ท้องถิ่น
1.17   เสริมสร้างภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมของชุมชน
1.18   พัฒนาบุคลากรเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ และฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการจดทะเบียน เพื่อคุ้มครองพันธุกรรมพืชของชุมชนท้องถิ่น
1.19   ดำเนินการป้องกัน และควบคุมมลพิษจากขยะ น้ำเสีย ฝุ่นละออง ก๊าซ และเสียงในชุมชน
1.20   ส่งเสริมการร่วมกลุ่มธุรกิจชุมชนและเอกชนในการจัดการและเพิ่มมูลค่าขยะอย่างครบวงจร
1.21   เสริมสร้างภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการดูแลรักษา และจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม
2. ยุทธศาสตร์ ชาญฉลาดทำกิน   มีเป้าประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาและประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะการประกอบอาชีพของประชาชน อย่างมั่นคงและสมดุล ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กลยุทธ์2.1 ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ พัฒนาและถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพ
2.2 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรในระดับชุมชน
2.3 ส่งเสริมการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรที่ปลอดจากสารพิษ (Food Safety) และระบบเกษตรอินทรีย์
2.4 ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรเพื่อพัฒนา และยกระดับคุณภาพสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และพัฒนาสู่ขบวนการวิสาหกิจชุมชน
2.5 ต่อยอดจุดแข็งเสริมจุดอ่อนให้ผู้ประกอบการรายเดิมและบ่มเพาะผู้ประกอบรายใหม่
2.6 เสริมสร้างธรรมมาภิบาลในภาพเอกชน
3.   ยุทธศาสตร์ “ดินแดนสันติสุข”   มีเป้าประสงค์  ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมที่เอื้ออาทรต่อกัน มีกระบวนการประชาสังคม

กลยุทธ์3.1 ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาและถ่ายทอด รวมทั้งคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง
3.2 เสริมสร้างมาตรฐานและพัฒนาคุณภาพการให้บริการด้านสาธารณสุขและคุ้มครองผู้บริโภค
3.3 พัฒนาคนหนองบัวลำภู ให้แข็งแรงโดยการดูแลสุขภาพตนเอง ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และลดพฤติกรรมเสี่ยง
3.4 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้มาตรการทางสังคม
3.5 จัดทำระบบข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้เป็นปัจจุบันและทันสมัย
3.6 เสริมสร้างคุณค่า ความเอื้ออาทรของสังคมไทย
3.7 จัดบริการทางสังคมขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
3.8  ให้การคุ้มครองทางสังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย
3.9  สร้างภูมิคุ้มกันและสภาพแวดล้อมแหล่งเรียนรู้
3.10 พัฒนาบุคลากรและกระบวนการเรียนการสอน
3,11 จัดคาราวานเสริมสร้างเด็ก
3.12 ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.13 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการศึกษาและสร้างอาชีพจากทุกภาคส่วน
3.14 จัดทำสถิติและฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
3.15 พัฒนาอาชีพสมรรถนะและวัฒนธรรมการทำงานของบุคลากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3.16 ป้องกันและปราบปรามผู้มีอิทธิพลและยาเสพติด
3.17 บังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม                                                      
3.18 บูรณาการการทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นและภาคประชาชน
3.19 พัฒนาขีดสมรรถนะและวัฒนธรรมการทำงานของบุคลากรภาครัฐและหน่วยงานภาครัฐ
3.20 ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
3.21 สร้างความเชื่อถือในการปฏิบัติงานที่โปร่งใส
3.22 สร้างความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ
3.23 เสริมสร้างธรรมาภิบาลมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
3.24 สร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.25 พิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์